Using
PBL And
EBM Approach |
||
|
|
|
|
4. การพิจารณาค่าใช้จ่ายของยา
simvastatin (cost)9(3),29(1) 4.1
ราคายาต่อหน่วย (คิดจากบัญชียาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์) 1)
simvastatin
(zimmex) Local product +
tab 10 mg ราคา 5.20 บาท 2)
simvastatin (Zocor) Original
product + tab 20 mg ราคา 47.30 บาท 3)
Atorvastatin (LIPITOR) tab 10 mg ราคา
44.50 บาท 4)
Atorvastatin (LIPITOR) tab 20 mg ราคา
68.70 บาท
5)
Bezafibrate (BENZALIP) tab 200 mg ราคา
7.20 บาท 6)
Bezafibrate (BENZALIP) tab 400 mg ราคา
18.80 บาท 7)
Eemfibrozil (HIDIL) cap 300 mg ราคา
2.10 บาท 8)
Eemfibrozil (HIDIL) cap 600 mg ราคา
3.50 บาท 9)
Eemfibrozil (LOPID) cap 300 mg ราคา
4.70 บาท 10)
Eemfibrozil (HIDIL) cap 600 mg ราคา
9.20 บาท 11)
Nicotinic acid tab 50 mg
ราคา
0.30 บาท 12)
Probucol (LURSELLE) tab 250 mg ราคา
9.30 บาท 4.2
ราคายาต่อวัน 1)
simvastatin
(zimmex) Local product +
tab 10 mg ราคา 2.6 บาท 2)
simvastatin (Zocor) Original
product + tab 20 mg ราคา 11.83
บาท หมายเหตุ เนื่องจากสั่งยา 5 mg/วัน
ซึ่งเป็น dose ต่ำสุด เราจึงใช้เป็น dose เริ่มต้น 3) Atorvastatin
(LIPITOR) tab 10 mg ราคา 44.50 บาท 4) Atorvastatin
(LIPITOR) tab 20 mg ราคา 34.35 บาท 5) Gemfibrozil
(HIDIL) tab 600 mg ราคา
7.00 บาท หมายเหตุ
ใช้ dose 1,200 mg/วัน สรุป
ยาในกลุ่มstatin (Zimmex) มีราคายาต่อวันถูกที่สุดเมื่อเทียบกับยาลดไขมันในกลุ่มอื่น
เราจึงควรใช้
simvastatin 4.3 ราคายาต่อสัปดาห์ของ simvastatin 1)
Simvastatin (Zimmex) tab
10 mg ราคา18.20 บาท 2)
Simvastatin (Zocor)
tab 20
mg ราคา82.80 บาท 4.4 ค่าใช้จ่ายในการสั่งยาจนครบระยะการรักษาของยา Simvastatin เนื่องจากโรคนี้ต้องกินยาควบคุมระดับ
cholesterol
ในเลือดตลอดชีวิต
ดังนั้นค่าใช้จ่ายในการใช้ยาจนครบระยะเวลาการรักษา โดยถ้าใช้ยา
simvastatin (Zimmex) ซึ่งเป็นยา Local product คิดเป็นปีละเท่ากับ
925.60 บาท ถ้าใช้ยา
simvastatin (Zocor) ซึ่งเป็น Original product
คิดเป็นปีละ
4,316.12
บาท ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการเลือกใช้ยาที่เป็น Local product จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากกว่า Original product ประมาณ
4 เท่า
แพทย์จึงควรสั่งยาด้วยชื่อสามัญ นอกจากนั้นเมื่อเทียบยา Simvastatin
กับยาตัวอื่นๆแล้วพบว่า
ยาSinvastatin (Simmex) ซึ่งเป็นLocal Product มีราคายาต่อปีถูกที่สุด 4.5 ยานี้อยู่ในบัญชียาหลักหรือไม่ อยู่บัญชีใด 1)
ยา
simvastatin อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ปีพ.ศ. 2542โดยอยู่ในบัญชี
ง.
2)
ยา
gemfibrozil อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ปีพ.ศ. 2542โดยอยู่ในบัญชี
ค. 3)
ยาatorvastatin calciumอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ปีพ.ศ. 2542โดยอยู่ในบัญชี
ง. 4)
ยา
cholestylamine อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ
ปีพ.ศ. 2542โดยอยู่ในบัญชี
ง. จะเห็นได้ว่ายาลดไขมันไม่มียาชนิดใดอยู่ในบัญชียา
ก.
หรือ
ข. ให้เลือกเลย
เราจึงต้องเลือกยาในบัญชี
ค.
หรือ
ง. โดยพบว่า Simvastatin
มีราคาถูกที่สุด 4.6 การใช้ยานี้จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในลักษณะอื่นได้หรือไม่
อย่างไร การใช้ยานี้จะสามารถช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในลักษณะอื่นได้เพราะถ้ากินยานี้จะสามารถลดระดับcholesterol ในเลือดได้ดีซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดผลแทรกซ้อนในระยะยาวที่จะเกิดโรคอื่น
เช่น cardiovascular disease ต่างๆ
(stroke
, MI , TIA , CHF , atherosclerosis) อีกทั้งมีผลข้างเคียงจากการใช้ยาน้อย
ทำให้ไม่ต้องเสียค่ารักษาจากผลแทรกซ้อนของโรคและผลข้างเคียงจากการใช้ยา 4.7 ค่าใช้จ่ายในการรักษาเหมาะสมกับเศรษฐานะของผู้ป่วยหรือไม่
เพราะเหตุใด ค่าใช้จ่ายของยาเหมาะสมกับเศรษฐานะของผู้ป่วย ของโรงพยาบาลและของรัฐบาล
เพราะค่ายาถูกอีกทั้งถ้าใช้ยานี้แล้วทำให้ไม่ต้องใช้ยาอื่นในการรักษาผลแทรกซ้อนของโรคหรือผลข้างเคียงจากการใช้ยานี้
เนื่องจากยานี้สามารถป้องกันผลแทรกซ้อนของโรคและมีผลข้างเคียงจากการใช้ยาน้อย ผู้ป่วยเป็นพระสงฆ์อยู่ในสวัสดิการรักษาพยาบาลแก่พระสงฆ์อยู่แล้ว ดังนั้นผู้ป่วยจึงไม่จำเป็นต้องแบกรับค่าใช้จ่ายจากยา
ถ้าผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐ 4.8 หากจำเป็นต้องใช้ยาที่แพงกว่า
อะไรคือเหตุผลที่ทำให้เลือก ไม่จำเป็นต้องใช้ยาแพงกว่าในการรักษาเพราะว่ายานี้ก็สามารถรักษาได้ดีอยู่แล้ว
แต่ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถทนผลข้างเคียงของยาได้ก็อาจจะเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่นซึ่งอาจราคาแพงกว่าหรือถูกกว่าก็ได้ตามความเหมาะสมและภาวะของผู้ป่วยในแต่ละคน 4.9 ควรสั่งยาด้วยชื่อสามัญหรือชื่อการค้า ควรที่จะสั่งยาในชื่อสามัญเพราะจะทำให้ห้องยาสามารถเลือกยาที่มีในห้องยาในราคาที่ถูกให้กับคนไข้ได้
แต่ถ้าสั่งยาในชื่อการค้าจะทำให้ห้องยาไม่สามารถหยิบยาตัวอื่นได้และยาชื่อการค้ามักมีราคาแพงกว่ายาชื่อสามัญ
ทำให้ผู้ป่วยต้องสินเปลืองกับค่าใช้จ่ายยาที่แพงขึ้น
รวมทั้งอาจเป็นยาที่ไม่สามารถใช้สวัสดิการเบิกได้ 4.10 พิจารณาองค์ประกอบอื่นๆ
20(1) 1) กรณีเป็นยาต้านจุลชีพ
ยาที่ใช้มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์วิทยาของเชื้ออย่างไร
(Ecology) -
ไม่ใช่ยาต้านจุลชีพ 2) ยาที่ใช้จัดหาได้ลำบากหรือไม่
( avaibility) -
ไม่ลำบาก มีทั้ง Original product
และ
Local product
มีหลายยี่ห้อให้เลือก
ที่ห้องยาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ก็มีขาย 3)
ยาที่ใช้มีความคงตัวหรือไม่
(
Stability)38(1) - ดี
เนื่องจากยานี้สามารถเก็บได้นานถึง 2 ปี 4)
ยาที่ใช้ต้องมีวิธีการเก็บรักษาพิเศษหรือไม่อย่างไร
(
Storage)39(1) , 40(1) - ควรเก็บยาที่อุณหภูมิระหว่าง
5-30°C (41-86°F) หรืออุณหภูมิห้อง
ห่างจากความชื้น
(ห้องนั้น) และความร้อน
นอกจากนี้ยังควรเก็บให้ห่างมือเด็ก 4.11 ขนาดยา วิธีให้ยาและความถี่ในการให้ยา
ปกติที่ใช้ในโรคดังกล่าว จาก Rx List “ dose 5-80 mg/day as a single dose in the evening ” |
|